โรคหูดับ ภัยร้ายใกล้ตัวที่ควรระวัง
การเจ็บป่วยในปัจจุบัน ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวอย่างสำหรับการใช้ชีวิตในแต่ละวัน โรคหูดับซึ่งแต่ละท่านคงทราบดีว่า หากการที่เราเป็นโรคอะไรสักโรคหนึ่งอาจส่งผลร้ายแรงต่อชีวิตก็เป็นได้ โรคไข้หูดับ อาการ เพราะฉะนั้นแล้วการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโรคต่าง ๆ และหมั่นดูแลร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ ถือเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากกับการใช้ชีวิตของเรา ยิ่งต้นเองอยู่ในพื้นที่มีโอกาสเสี่ยงต่อโรคร้าย อาจจะทำให้ร่างกายนั่นเสื่อมโทรมเร็วยิ่งขึ้น และบางโรคก็เกิดขึ้นมาทั้ง ๆ ที่เราไม่เคยทราบมาก่อน อย่างเช่นในบทความนี้จะมานำเสนอ โรคหูดับภัยร้ายใกล้ตัวที่ควรระวัง
โรคหูดับ ภัยร้ายใกล้ตัวที่ควรระวัง
โรคหูดับ หรือโรคติดเชื้อสเตรฟโตคอกคัส ซูอิส (Streptococcus Suis) เป็นโรคที่เกิดในสุกร หรือหมูที่เรารับประทานกันอยู่ทุกวัน โดยโรคนี้เกิดจากการเชื้อแบคทีเรียที่ปกติจะอยู่ในหมูเกือบทุกตัว ซึ่งตัวเชื้อจะทำการฝังอยู่ในต่อมทอนซิลของหมู แต่ไม่ได้ก่อให้เกิดโรค แต่จะส่งผลร้ายก็ต่อเมื่อหมูมีร่างกายที่อ่อนแอ เครียด หรือป่วย เชื้อร้ายนี้จะยับยั้งภูมิของหมูเอาไว้ไม่ให้ออกมาต้านเชื้อโรค โรคหูดับ ส่งผลให้มีแบคทีเรียเพิ่มจำนวนมากขึ้น และทำให้หมูติดเชื้อในกระแสเลือด และตายในขั้นสุดท้าย
หลายคนคงตั้งข้อสงสัยว่าโรคที่เกิดขึ้นและมีผลเฉพาะในหมู จะส่งผลอย่างไรกับเราหรือ โรคหูดับต้องบอกเลยว่าโรคชนิดนี้แม้ว่าจะเกิดขึ้นกับหมู แต่ก็สามารถที่จะเข้าสู่ร่างกายของคนเราได้โรคไข้หูดับ อาการ โดยสามารถเข้ามาในร่างกายได้ 2 ทาง คือ
- การบริโภคเนื้อหมู เครื่องในหมู หรือเลือดหมู แบบที่ไม่ได้ผ่านการทำให้สุกก่อน เช่น เมนูลาบ ลู่ ปิ้งย่างที่ไม่สุก
- สามารถติดได้จากทางบาดแผล รอยถลอก ติดที่เยื่อบุตา ติดจากการสัมผัสโรค หรือสัมผัสกับหมูที่เป็นโรคนี้ ซึ่งกลุ่มเสี่ยงที่
อาจจะติดโรคนี้ได้เลยคือ เกษตรกร ผู้ที่เลี้ยงหมู คนงานในโรงฆ่าสัตว์ คนชำแหละเนื้อสัตว์ หรือสัตวบาล
อาการที่พบเจอจากโรคหูดับ
หลังจากที่ทราบถึงสาเหตุของโรคไข้หูดับ pantip ไปแล้ว ต่อมาจะเป็นอาการที่พบเจอหลังจากโรคหูดับกันบ้าง โดยมีลักษณะดังนี้
- ลำดับแรกโดยผู้ป่วยที่มีการรับเชื้อโรคนี้เข้าสู่ร่างกายแล้วภายในอย่างน้อย 3 วัน จากนั้นจะมีอาการไข้ขึ้นสูง ร่วมกับอาการปวด
เมื่อยตามตัว
- ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดบวมตามข้อต่าง ๆ โรคหูดับมีเลือดออกตามผิวหนัง จนทำให้มีอาการซึม คอแข็ง ชัก จากนั้นเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงระดับจะเข้าสู่กระแสเลือด
- เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่สมองแล้วโรคไข้หูดับ อาการ จะส่งผลให้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบ และม่านตาอักเสบได้
- เมื่อเยื่อหุ้มสมองที่มีหน้าที่ในการรับเสียงได้อักเสบไปแล้วนั้น จะส่งผลให้ประสาททรงตัวอาจจะลุกลาม และทำให้เกิดหนอง
บริเวณปลายประสาทรับเสียง และประสาททรงตัวได้
ซึ่งหลังจากอาการทั้งหมดที่กล่าวไปนั้นจะทำให้เกิดอาการ โรคหูดับ หูดับ หูตึง จนอาจจะมีอาการหูหนวกร่วมกับอาการเวียนศีรษะ เดินไม่ตรง โดยที่อาการทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นภายใน 14 วัน หลังจากเริ่มมีอาการไข้นั่นเอง
วิธีการป้องกันที่ควรทำ เพื่อหลีกเลี่ยงจากอาการโรคหูดับ
- ควรที่จะรับประทานเนื้อหมูที่สุกดี ไม่รับประทานเมนูที่มีเนื้อหมูที่ดิบ หรือไม่ผ่านกรรมวิธีผ่านความร้อน เช่น จิ้มจุ่มที่ต้มไม่สุก หรือลาบก้อย ลาบเลือด หมูกระทะที่ยังย่างไม่สุกดี หรือเนื้อยังเป็นสีชมพู
- ไม่ควรรับประทานหมูที่ป่วย หรือหมูตายจากโรค โรคไข้หูดับ อาการ ควรเลือกบริโภคเนื้อหมูจากแหล่งผลิตที่ได้มาตรฐาน หรือร้านค้าที่ผ่านการรับรองจากกรมปศุสัตว์แล้วเท่านั้น
- ในโรงงานที่เลี้ยงหมูเจ้าหน้าที่ต้องสวมรองเท้าบูท สวมถุงมือ และสวมเสื้อผ้าที่รัดกุม ระหว่างที่กำลังปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับหมูทุกขั้นตอน ซึ่งจะช่วยในเรื่องของการป้องกันการแพร่เชื้อจากหมูมาสู่คนได้ดีที เดียว
- โรงงานจะต้องมีมาตรการล้างมือ ล้างเท้า ล้างตัวให้สะอาดหลังจากที่มีการสัมผัสหมู และเนื้อหมู และสำหรับร้านค้าที่ขายหมูควรทำความสะอาดตู้แช่ หรือแผงขายอยู่บ่อยครั้ง เพื่อลดโอกาสการเกิดของเชื้อในเนื้อหมู
- เมื่อเกิดแผลบริเวณใดก็ตามต้องระมัดระวังในการสัมผัสหมู เพราะเชื้อสามารถเข้าผ่านทางบาดแผลได้
- จะต้องทำการกำจัดเชื้อจากฟาร์ม โรคหูดับ โดยต้องเลี้ยงหมูตามคำแนะนำของสัตวแพทย์ และกรมปศุสัตว์เท่านั้น เพื่อป้องกันการติดเชื้อของหมู
จากทั้งหมดที่ได้กล่าวไปนั้นจึงสรุปได้ว่า เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของ โรคไข้หูดับ อาการ ภัยร้ายใกล้ตัวที่ควรระวัง ซึ่งเป็นโรคหนึ่งที่มีต้นกำเนิดของเชื้อมาจากการรับประทานหมูที่ไม่สุก หรือพฤติกรรมการกินที่ผิดแปลกจากคนทั่วไป หรือร้ายที่สุดก็คือการได้รับเชื้อจากการรับประทานหมูที่เป็นโรค หากไม่ได้รับการป้องกัน และดูแลรักษาอย่างถูกวิธีอาจส่งผลให้เกิดผลร้ายที่ตามมาได้ ดังนั้นผู้ที่จำเป็นต้องมีการสัมผัส โรคไข้หูดับ อาการ หรือใกล้ชิดกับหมูควรที่จะป้องกันตัวเองและจะต้องคอยหมั่นตรวจสอบดูอยู่เสมอว่าหมูที่อยู่ใกล้ชิดนั้นมีอาการปกติหรือไม่ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าโรคที่เป็นภัยร้ายนี้จะไม่สามารถทำอันตรายใด ๆ แก่เราได้